ชะพลู
ชะพลู หรือ ช้าพลู สรรพคุณทางยารักษาโรคเบาหวาน
ชะพลู หรือ ช้าพลู (Piperaceae)
ชื่อวิทยาศาสตร์: Piper sarmentosum Roxb.
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: พืช (Plantae)
ดิวิชั่น: Magnoliophyta
ชั้น: Magnoliopsida
อันดับ: Piperales
วงศ์: Piperaceae
สกุล: Piper
สปีชีส์: sarmentosum
ชื่อทวินาม Piper sarmentosum
มักสับสนกับพลูแต่ใบรสไม่จัดเท่าพลูและมีขนาดเล็กกว่า
ชะพลูมีชื่อพื้นเมืองอื่นๆอีกคือทางภาคเหนือเรียกว่า "ผักปูนา" "ผักพลูนก" "พลูลิง" "ปูลิง" "ปูลิงนก" ทางภาคกลาง เรียกว่า "ช้าพลู" ทางภาคอีสานเรียกว่า "ผักแค" "ผักปูลิง" "ผักนางเลิด" "ผักอีเลิด" และ ทางภาคใต้เรียกว่า "นมวา"
สรรพคุณทางยา
ดอก : ทำให้เสมหะแห้ง ช่วยขับลมในลำไส้
ราก : ขับเสมหะให้ออกมาทางระบบขับถ่าย ขับลมในลำไส้ ทำให้เสมหะแห้ง
ต้น : ขับเสมหะในทรวงอก
ใบ : มีรสเผ็ดร้อน ทำให้เจริญอาหาร ขับเสมหะ ในใบชะพลูมีสารเบต้า-แคโรทีนสูงมาก
ส่วนที่ใช้ : ผล ใบ ทั้งต้น ราก
ผล - เป็นส่วนผสมของยารักษาโรคหืด แก้บิด
ราก ต้น ดอก ใบ - ขับเสมหะ
ราก - แก้ธาตุพิการ บำรุงธาตุ แก้ท้องขึ้นอืดเฟ้อขับลม แก้บิด
ทั้งต้น- แก้เสมหะ ท้องอืด ท้องเฟ้อ- รักษาโรคเบาหวาน
วิธีและปริมาณที่ใช้
รักษาโรคเบาหวาน
ใช้ชะพลูสดทั้ง 5 จำนวน 7 ต้น ล้างน้ำให้สะอาด ใส่น้พอท่วม ต้มให้เดือดสักพัก นำมาดื่ม เหมือนดื่มน้ำชา
*ข้อควรระวัง - จะต้องตรวจน้ำตาลในปัสสาวะก่อนดื่มและหลังดื่มทุกครั้ง เพราะว่าน้ำยานี้ทำให้น้ำตาลลดลงเร็วมาก ต้องเปลี่ยนต้นชะพลูใหม่ทุกวันที่ต้ม ต้มดื่มต่อไปทุกๆ วัน จนกว่าจะหาย
แก้ท้องอืดเฟ้อ ขับลม
ใช้ราก 1 กำมือ ต้มกับน้ำ 2 ถ้วยแก้ว เคี่ยวให้เหลือ 1 1/2 ถ้วยแก้ว รับประประทานครั้งละ 1/2 ถ้วยแก้ว
แก้บิด
ใช้รากครึ่งกำมือ ผล 2-3 หยิบมือ ต้มกับน้ำ 2 ถ้วยแก้ว เคี่ยวให้เหลือ 1 ถ้วยแก้ว รับประทานครั้งละ 1/4 ถ้วยแก้ว
*ข้อควรระวัง
ใบชะพลูมีสารกลุ่มออกซาเลต (Oxalate) ค่อนข้างสูง ซึ่งเป็นสารที่สามารถทำให้เกิดนิ่วในไตได้ ถ้าหากร่างกายได้รับการสะสม จึงควรดื่มน้ำมากๆ เพื่อให้สารดังกล่าวถูกเจือจ่าง ถูกขับถ่ายมาทางปัสสวะ หรือทานอาหารจำพวกโปรตีนสูงๆ เพื่อป้องกันการเกิดนิ่วก็ได้
ชื่อวิทยาศาสตร์: Piper sarmentosum Roxb.
อาณาจักร: พืช (Plantae)
ดิวิชั่น: Magnoliophyta
ชั้น: Magnoliopsida
อันดับ: Piperales
วงศ์: Piperaceae
สกุล: Piper
สปีชีส์: sarmentosum
ชื่อทวินาม Piper sarmentosum
มักสับสนกับพลูแต่ใบรสไม่จัดเท่าพลูและมีขนาดเล็กกว่า
ชะพลูมีชื่อพื้นเมืองอื่นๆอีกคือทางภาคเหนือเรียกว่า "ผักปูนา" "ผักพลูนก" "พลูลิง" "ปูลิง" "ปูลิงนก" ทางภาคกลาง เรียกว่า "ช้าพลู" ทางภาคอีสานเรียกว่า "ผักแค" "ผักปูลิง" "ผักนางเลิด" "ผักอีเลิด" และ ทางภาคใต้เรียกว่า "นมวา"
สรรพคุณทางยา
ดอก : ทำให้เสมหะแห้ง ช่วยขับลมในลำไส้
ราก : ขับเสมหะให้ออกมาทางระบบขับถ่าย ขับลมในลำไส้ ทำให้เสมหะแห้ง
ต้น : ขับเสมหะในทรวงอก
ใบ : มีรสเผ็ดร้อน ทำให้เจริญอาหาร ขับเสมหะ ในใบชะพลูมีสารเบต้า-แคโรทีนสูงมาก
ส่วนที่ใช้ : ผล ใบ ทั้งต้น ราก
ผล - เป็นส่วนผสมของยารักษาโรคหืด แก้บิด
ราก ต้น ดอก ใบ - ขับเสมหะ
ราก - แก้ธาตุพิการ บำรุงธาตุ แก้ท้องขึ้นอืดเฟ้อขับลม แก้บิด
ทั้งต้น- แก้เสมหะ ท้องอืด ท้องเฟ้อ- รักษาโรคเบาหวาน
วิธีและปริมาณที่ใช้
รักษาโรคเบาหวาน
ใช้ชะพลูสดทั้ง 5 จำนวน 7 ต้น ล้างน้ำให้สะอาด ใส่น้พอท่วม ต้มให้เดือดสักพัก นำมาดื่ม เหมือนดื่มน้ำชา
*ข้อควรระวัง - จะต้องตรวจน้ำตาลในปัสสาวะก่อนดื่มและหลังดื่มทุกครั้ง เพราะว่าน้ำยานี้ทำให้น้ำตาลลดลงเร็วมาก ต้องเปลี่ยนต้นชะพลูใหม่ทุกวันที่ต้ม ต้มดื่มต่อไปทุกๆ วัน จนกว่าจะหาย
แก้ท้องอืดเฟ้อ ขับลม
ใช้ราก 1 กำมือ ต้มกับน้ำ 2 ถ้วยแก้ว เคี่ยวให้เหลือ 1 1/2 ถ้วยแก้ว รับประประทานครั้งละ 1/2 ถ้วยแก้ว
แก้บิด
ใช้รากครึ่งกำมือ ผล 2-3 หยิบมือ ต้มกับน้ำ 2 ถ้วยแก้ว เคี่ยวให้เหลือ 1 ถ้วยแก้ว รับประทานครั้งละ 1/4 ถ้วยแก้ว
*ข้อควรระวัง
ใบชะพลูมีสารกลุ่มออกซาเลต (Oxalate) ค่อนข้างสูง ซึ่งเป็นสารที่สามารถทำให้เกิดนิ่วในไตได้ ถ้าหากร่างกายได้รับการสะสม จึงควรดื่มน้ำมากๆ เพื่อให้สารดังกล่าวถูกเจือจ่าง ถูกขับถ่ายมาทางปัสสวะ หรือทานอาหารจำพวกโปรตีนสูงๆ เพื่อป้องกันการเกิดนิ่วก็ได้
ขอขอบคุณที่มา
http://www.rspg.or.th
http://www.rspg.or.th